องค์ประกอบและขั้นตอนในการจัดการความรู้

องค์ประกอบและขั้นตอนในการจัดการความรู้
 องค์ประกอบที่สำคัญของการจัดการความรู้ คือ คน เทคโนโลยี และกระบวนการความรู้ (Knowledge Process) "คน” เป็นองค์ประกอบที่ส าคัญที่สุด เพราะเป็นแหล่งความรู้ และเป็นผู้น าความรู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ "เทคโนโลยี” เป็นเครื่องมือที่ช่วยค้นหา จัดเก็บ แลกเปลี่ยน และน าความรู้ไปใช้ได้ง่ายและ รวดเร็วขึ้น "กระบวนการความรู้ (Knowledge Process)” เป็น การบริหารจัดการ เพื่อน าความรู้จากแหล่ง ความรู้ไปให้ผู้ใช้ เพื่อให้เกิดการปรับปรุง และนวัตกรรม โดยองค์ประกอบทั้ง ๓ ส่วนนี้ต้องเชื่อมโยงและบูรณา การเข้าด้วยกันอย่างเหมาะสม การที่องค์กรได้น าวิธีการจัดการความรู้มาใช้ในการพัฒนาคน พัฒนางาน และ พัฒนาองค์กรแล้ว จะเห็นได้ว่าเกิดประโยชน์มากมาย ทั้งเป็นการเพิ่มคุณภาพและศักยภาพขององค์กร โดยมี การน าความรู้ที่มี อยู่เดิม (ความรู้เก่า) น ามาบูรณาการเป็นความรู้ใหม่ก็จะก่อให้เกิดเป็นความรู้ใหม่ ๆ ขึ้นอีก และสามารถน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น จนกลายเป็นวงจรแห่งการเรียนรู้ที่เพิ่มพูนอย่างไม่มีที่สิ้นสุด องค์ประกอบส ำคัญของกำรจัดกำรควำมรู้ 1. “คน” ถือว่าเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญที่สุดเพราะเป็นแหล่งความรู้ และเป็นผู้น าความรู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ 2. “เทคโนโลยี” เป็นเครื่องมือเพื่อให้คนสามารถค้นหา จัดเก็บ แลกเปลี่ยน รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ อย่างง่าย และรวดเร็วขึ้น 3. “กระบวนการความรู้” นั้น เป็นการบริหารจัดการ เพื่อน าความรู้จากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ใช้ เพื่อท า ให้เกิดการปรับปรุง และนวัตกรรม องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนนี้ จะต้องเชื่อมโยงและบูรณาการอย่างสมดุล การจัดการความรู้ของกรมการ ปกครอง จากพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 ก าหนดให้ ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่าง ๆ เพื่อน ามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ ราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและเหมะสมต่อสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ และมีการเรียนรู้ร่วมกัน ขอบเขต KM ที่ได้มีการพิจารณาแล้วเห็นว่ามีความส าคัญเร่งด่วนในขณะนี้ คือ การ จัดการองค์ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนเชิงบูรณาการ และได้ก าหนดเป้าหมาย (Desired State) ของ KM ที่จะด าเนินการในปี 2549 คือมุ่งเน้นให้อ าเภอ/กิ่งอ าเภอ เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ เพื่อแก้ไขปัญหาความ ยากจนเชิงบูรณาการในพื้นที่ที่เป็นประโยชน์แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยมีหน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม คือ อ าเภอ/กิ่งอ าเภอ มีข้อมูลผลส าเร็จ การแก้ไข

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น